fbpx

Search

Bluebik is trusted by leading organizations

ถอดสูตรสำเร็จ ‘บลูบิค’ ‘คน’ ส่วนผสมลงตัว สู่ผู้นำ Digital Transformation

มองย้อนเส้นทางความสำเร็จของ "บลูบิค" สู่ที่ปรึกษาชั้นนำด้านดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันครบวงจร จากจุดเริ่มต้นที่การลงทุนพัฒนาคน เปิดรับความแตกต่างและสร้างวัฒนธรรมองค์กรแห่งการรับฟังความคิดเห็นจนกลายมาเป็นส่วนผสมลงตัว แล้วส่งต่อบริการสู่ลูกค้าด้วยการรับฟังลูกค้าให้มากขึ้น เข้าใจปัญหาให้ตรงจุดเพื่อพัฒนาและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ อันเป็นหัวใจสำคัญของ "ดิจิทัล ทรานส์ฟอร์เมชัน" บลูบิคเริ่มต้นธุรกิจด้วยเงินทุนจำนวนไม่มาก แต่สร้างขึ้นจากความ "ตั้งใจ" และ "ความฝัน" โดยผู้ที่เข้ามาร่วมก่อตั้งนั้นส่วนใหญ่ทำงานในบริษัทที่ปรึกษาชั้นนำระดับโลก ซึ่งทุกคนยอมสละอาชีพที่มั่นคง มารวมตัวกัน โดยเชื่อว่าบริษัทไม่จำเป็นต้องเป็นบริษัทต่างชาติ ก็สามารถทัดเทียมบริษัทระดับโลกได้ ผู้ก่อตั้งทุกคนมีความเหมือนกันอย่างหนึ่ง คือประสบความสำเร็จในหน้าที่การงานจากอาชีพที่ทำก่อนหน้านี้ ถึงอย่างนั้นเรามองว่ายังสามารถสร้างความสำเร็จที่ดีขึ้นไปได้อีก ถ้าไม่มีกรอบข้อจำกัดเดิมที่มีอยู่ “คน” กลไกทรงพลังเบื้องหลังเทคโนโลยี เป้าหมายตั้งแต่วันแรกที่ก่อตั้งบลูบิค ไม่ได้มองแค่เรื่องผลกำไร ไม่ได้หวังเข้ามาเป็นบริษัทที่ปรึก...

19 มีนาคม 2024

เลิกตายไมค์! 3 เทคนิคต้องรู้ ก่อนสัมภาษณ์งาน Business Analyst & System Analyst ที่ Bluebik

🙋🏻‍♀️พี่คะ หนูต้องเตรียมพอร์ตไหม? 🙋🏻‍♂️พี่ครับ ผมจะโดนถามว่าอะไรบ้าง? มีใครกำลังเตรียมตัวสัมภาษณ์งาน Business Analyst (BA) หรือ System Analyst (SA) และมีคำถามเหล่านี้อยู่ในใจบ้างไหม? เลิกกังวลได้เลย เพราะวันนี้เรามี 3 เทคนิคจาก “พี่แก้ม ณปกฉัตร,” Business Analyst และ “พี่ตาล วัชรพันธ์,” System Analyst มาฝาก บอกเลยว่า ถ้าเตรียมตัวได้ตามนี้ บูสต์ความมั่นใจได้แน่นอน 100%   1️⃣อธิบายตัวเองให้เก่ง พี่แก้มบอกว่า “เราต้องอธิบายตัวเองให้ดีตั้งแต่ตอนทำ CV ต้องเขียนให้ชัดเลยว่า เราคือใคร เราเคยทำโปรเจกต์อะไรมาบ้าง ผลลัพธ์ของงานคืออะไร ให้เขา Skim ดูแล้วรู้เลย ตอนสัมภาษณ์ก็เช่นกัน ถ้าเขาถามว่าเคยทำอะไรมา ก็ต้องตอบได้อย่างมั่นใจ” 2️⃣มีทักษะอะไรที่เป็นประโยชน์ก็อย่าลืมบอก พี่ตาลยกตัวเองเป็นกรณีตัวอย่างให้ฟังว่า แม้เราอาจคิดว่าบางทักษะอาจจะดูธรรมดาทั่วไป แต่ถ้ามันอาจเป็นประโยชน์กับตำแหน่งงานได้ก็พรีเซนต์ไปด้วยเลย “ผมมีความรู้ความเข้าใจภาษาอังกฤษค่อนข้างดี แล้วก็เป็นคนที่เข้ากับคนง่าย ซึ่งก็เป็นคุณสมบัติที่ SA ควรมีติดตัว เพราะต้องทำงาน...

26 ธันวาคม 2023

เจาะลึกการเป็น System Analyst สไตล์ “พี่นุ้ย สรารัตน์” นักแปลงศัพท์ธุรกิจเป็นศัพท์เทคนิคัล ผู้ชอบก้าวให้ทันเทคโนโลยีใหม่ๆ อยู่เสมอ

🤔System Analyst ต้องรู้อะไรบ้างนะ? ถ้าใครมีคำถามนี้อยู่ในใจ เราอยากชวนมาฟังเรื่องราวของ “พี่นุ้ย สรารัตน์” Associate Director, System Analysis มาดูกันว่านุ้ยผันตัวจาก Developer มาเป็น System Analyst ได้อย่างไร แล้วใน 1 วัน System Analyst ต้องทำอะไรบ้าง 🌏เติมความรู้ธุรกิจ ฝึกฝนการสื่อสาร “จาก Developer สู่ System Analyst นอกจากความรู้ด้าน Technical แล้ว สิ่งที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือต้องมีความรู้ทางด้านธุรกิจ ทั้งในเชิงความเข้าใจในแต่ละอุตสาหกรรมของลูกค้าและเข้าใจในคำศัพท์ธุรกิจด้วย เพราะเวลาอธิบายลูกค้าในเชิง Technical จะต้องคุยคุยด้วยศัพท์ที่ลูกค้าเข้าใจง่าย หลังจากนั้นก็ต้องแปลงศัพท์ธุรกิจมาคุยกับฝั่ง Developer ทำให้เราต้องฝึกสกิลเรื่องการสื่อสารเพิ่มด้วย” ❓ตั้งคำถามที่ใช่ จะไปต่อได้ “หนึ่งในทักษะการสื่อสารที่สำคัญคือทักษะการตั้งคำถามอย่างมีประสิทธิภาพ เราจะอ่านข้อมูลล่วงหน้าและลิสต์คำถาม เพื่อป้องกันไม่ให้เข้าใจความต้องการของลูกค้าผิด คำถามที่เตรียมไปต้องไม่เป็นเชิงเทคนิคเกินไปซึ่งอาจทำให้ลูกค้าไม่เข้าใจ และในกรณีที่มีคำถามที่ซับซ้อน เราสามารถใช...

รวมเทคนิค Upskill เปลี่ยนสายงานมาเป็น Business Analyst & System Analyst ฉบับ Bluebik

🎓💻เรียนจบไม่ตรงสาย?​ ทำงานด้านอื่นมา? แต่อยากทำงานเป็น Business Analyst (BA) และ System Analyst (SA) เราขอบอกเลยว่า “คุณทำได้!” เพราะทั้งสองอาชีพนี้ต้องอาศัยส่วนผสมของ Hard Skills และ Soft Skills ที่หลากหลาย ดังนั้นไม่ว่าจะเรียนจบสายอะไร ทำงานด้านไหนมา ก็สามารถผันตัวมาเป็น BA หรือ SA ได้ทั้งนั้น ขอแค่พร้อม Upskill ตัวเองเท่านั้นเอง ว่าแล้วก็ไปฟังเทคนิคจากชาว Bluebik ที่โยกย้ายสายงานมาเป็น BA และ SA กันว่าพวกเขา Upskill อะไรมาบ้าง! 1.) หัดจับต้นชนปลายและสื่อสารให้เข้าใจตรงกันแบบ “พี่แก้ม ณปกฉัตร”  Business Strategist ▶️ Business Analyst “เราเรียนจบด้าน Aviation Technology Management ทำงานเป็น Management Trainee และ Business Strategist อยู่ช่วงหนึ่ง แต่เราสนใจด้านเทคโนโลยีอยู่แล้วก็เลยขยับมาทำ BA “ทักษะที่ต้องฝึกฝนเพิ่มคือการจับต้นชนปลาย เดิมเรารู้เรื่องธุรกิจ ก็ต้องศึกษาเรื่องเทคโนโลยีมากขึ้น แล้ววิเคราะห์ว่าเราจะเอาเทคโนโลยีมาช่วยธุรกิจได้อย่างไร อีกทักษะที่สำคัญคือการสื่อสาร เพราะเราเป็นคนตรงกลางระหว่างฝั่งธุรกิจกับฝั่ง Technical เราต้องเอาสิ่ง...

13 ธันวาคม 2023

เจาะลึกการเป็น Business Analyst สไตล์ “พี่ครีม” ผู้ชอบคิด ชอบคุย และชอบความท้าทายในทุกวัน

🙋ขอเสียงคนอยากเป็น Business Analyst หน่อย!  วันนี้ Bluebik อยากชวนมาฟังเรื่องราวของ “พี่ครีม นิธิกานต์” จากนิสิตวิศวะฯ คอมพ์ผู้ไม่ชอบนั่งหน้าคอมพ์ทั้งวัน สู่ Senior Business Analyst ผู้เป็น “ล่ามระหว่างฝั่งธุรกิจและฝั่งเทคนิคัล” และสนุกไปกับความท้าทายที่ได้เจอในทุกๆ วัน 💻ไม่อยากจ้องคอมพ์ อยากคุยกับคน “เราเรียนวิศวะฯ คอมพ์มา แล้วจังหวะที่ทุกคนกำลังนั่งเขียนโค้ดกันสนุกสนาน เราพบว่าเราไม่ชอบเลย เราไม่อยากจ้องแต่หน้าจอคอมพ์ เราอยากคุยกับคนอื่นมากกว่า แต่เราก็ยังสนใจและอยากทำงานด้าน IT ก็เลยหาข้อมูลดูจนมาเจอกับอาชีพ Business Analyst  “BA ต้องมีความรู้ทั้งด้านธุรกิจและเทคนิคัล พูดง่ายๆ คือต้องเป็นล่ามระหว่างฝั่งธุรกิจและฝั่งเทคนิคัล เนื้องานก็ท้าทาย ไม่เป็น Routine เราต้องคิดหาวิธีที่จะทำตาม Requirement ของลูกค้าให้ได้ อีกอย่างคือเป็น BA จะได้คุยกับคนด้วย อาชีพนี้ก็เลยตอบโจทย์เรา” 🧑‍💻วันทำงานที่วุ่นแต่สนุกของ Business Analyst “การทำงานของ BA จะแบ่งเป็น 2 ช่วงใหญ่ๆ ช่วงแรกคือการเก็บ Requirement หรือความต้องการของลูกค้าแล้วก็คิดวิเคราะห์หา Solution เพ...

14 พฤศจิกายน 2023

กฎ 2 นาที บอกลาการ “ผัดวันประกันพรุ่ง”

การผัดวันประกันพรุ่งเป็นนิสัยที่ใครหลายคนรู้ว่าไม่ควรทำ แต่ก็เผลอตัวทำลงไปไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม ซึ่งพฤติกรรมแบบนี้อาจเกิดจากการที่เราพยายามหลีกเลี่ยงงานยากๆ หรืองานที่ไม่น่าสนใจออกไปก่อน โดยคิดว่าค่อยมาทำทีหลัง แต่สุดท้ายก็มักจะลืมหรือเลื่อนออกไปเรื่อยๆ จนงานทับถมกลายเป็นปัญหาใหญ่ในที่สุด  กฎ 2 นาทีเป็นวิธีง่ายๆ ที่ช่วยให้เราบอกลานิสัยการผัดวันประกันพรุ่งได้ โดยหลักการคือ “หากคุณมีงานใดๆ ก็ตามที่สามารถทำเสร็จได้ภายใน 2 นาที ให้รีบลงมือทำงานนั้นทันที” เช่น ตอบอีเมล ตอบข้อความ เก็บขยะ ล้างจาน ทำความสะอาดโต๊ะทำงาน ฯลฯ โดยเริ่มต้นจากการจัดการงานเล็กๆ ที่ทำเสร็จเร็ว จะช่วยลดความเครียดเรื่องปริมาณงานที่ต้องทำและสร้างแรงผลักดันให้คุณสามารถจัดการงานอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น  และเพื่อให้เห็นภาพมากขึ้น เราจะพามาดูการประยุกต์ใช้ กฎ 2 นาที ในชีวิตประจำวันกัน  1. แบ่งงานชิ้นใหญ่ ออกเป็นงานเล็กๆ ที่ทำเสร็จได้ภายใน 2 นาที งานบางชิ้นที่มีรายละเอียดซับซ้อนและใช้ระยะเวลานาน อาจทำให้เราเกิดความรู้สึกไม่อยากทำงานยากๆ นั้นขึ้นมา จนผัดวันประกันพรุ่งไม่ยอ...

7 พฤศจิกายน 2023

Agile Project Selection: Key Considerations for Effective Implementation

Looking back to around mid-80s, many “Gen-X'' would not have presumptuously thought how far our digital era has been evolving and to embrace such experiences ranging from 8-bit games in a handful of cartridges in the early digital era to a vivid quality of virtual reality (VR) MMORG games released just recently. Inevitably, many of us might be in awe of the capability the digital world can deliver to our doorsteps and how far it will take us in the future. Similarly, in the business landscape, we are all in this incessantly thriving domain whereby companies are increasingly embracing a 'Digital-First' approach to stay competitive and deliver value to their customers. With the rise of agile methodology, which emphasizes flexibility, collaboration, and rapid adaptation, the 'Digital-First' mindset complements and reinforces the benefits of agility. By putting digital technologies and capabilities at the center of their strategies, businesses can leverage the power of emerging technolo...

20 ตุลาคม 2023

สรุปบทบาทบล็อกเชนมีผลอย่างไรต่อ Digital Wallet

ช่วงไม่นานนี้ หลายคนน่าจะคุ้นหูกับคำว่า Digital Wallet หรือ กระเป๋าเงินดิจิทัล กันมากขึ้น โดยอีกคำที่ได้รับการพูดถึงควบคู่กันมาคือบล็อกเชน ซึ่งเป็นเทคโนโลยีสร้างความปลอดภัยให้กับการทำธุรกรรมทางการเงินผ่านกระเป๋าเงินดิจิทัล  วันนี้ Bluebik เลยอยากชวนไปดูมุมมองของคุณ ล็อก ภูริเชษฐ์ เทพดุสิต Director of Bluebik Nexus เกี่ยวกับบทบาทของเทคโนโลยีบล็อกเชนต่อระบบ Digital Wallet  หากอธิบายแบบง่าย ๆ คือ บล็อกเชนเป็น database สำหรับเก็บข้อมูลนั่นเอง อย่างไรก็ตาม หากใช้ในบริบทของเงินดิจิทัล ควรใช้ Blockchain เป็นกระเป๋าเงินในการเก็บข้อมูลว่าผู้ใช้มียอดเงินคงเหลือเท่าไหร่ (account balance) และบันทึกประวัติการทำธุรกรรมของผู้ใช้ว่าใช้เงินไปที่ไหนและเมื่อไหร่ (transaction history) แน่นอนว่าการใช้ Blockchain เป็นกระเป๋าเงินมีทั้งความเหมือนและความแตกต่างกัน เมื่อเปรียบเทียบกับใช้ระบบ database ธรรมดา เพื่อให้เห็นภาพ ขอสรุปเป็นข้อสั้นๆ คือ 1.  Technology Enables ข้อดีของ Blockchain คือเป็นเทคโนโลยีที่เน้นความปลอดภัยและโปร่งใส ทำให้การโกงเป็นเรื่องยาก นั่นเป็นผลมาจากควา...

3 ตุลาคม 2023

เปิดสูตรสำเร็จงาน PMO สร้างความร่วมมือทีมงาน เอาอยู่ทุก Project ตั้งแต่เล็ก – ใหญ่

‘No one can whistle a symphony. It takes a whole orchestra to play it.’ นิยามของ Halford E.Luccock ที่สะท้อนภาพความสำเร็จของธุรกิจด้วยการทำงานแบบ Team Work การบริหารจัดการโครงการก็เช่นกัน ยิ่ง Digital Landscape และรูปแบบการทำงานในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลมีความซับซ้อนมากขึ้นเท่าใด การบริหารจัดการโครงการต่าง ๆ เพื่อบรรลุผลสำเร็จในการเปลี่ยนผ่านองค์กรสู่ ‘Digital-First Company’ ยิ่งต้องอาศัยประสบการณ์และความเชี่ยวชาญจากทีมงานที่หลากหลาย ดังนั้น การประสานความร่วมมือระหว่างกันของแต่ละฝ่าย จึงกลายเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ทุกโครงการประสบความสำเร็จ ในทางกลับกัน โครงการอาจล่าช้ากว่ากำหนด หรืออาจถึงกับล้มไม่เป็นท่า เพราะขาดการประสานความร่วมมือที่ดี เนื่องจากบทบาทและความรับผิดชอบที่แตกต่าง รวมถึงระบบงานที่ซับซ้อนของแต่ละทีม ที่ทำให้เกิดความสับสน ความเข้าใจไม่ตรงกันและปัญหาอื่น ๆ ตามมาโดยเฉพาะความซับซ้อนทางเทคนิค/เทคโนโลยีที่มักขัดแย้งกับเป้าหมายทางธุรกิจ ด้วยเหตุนี้ PMO (Project Management Office) จึงมีบทบาทสำคัญในฐานะ ผู้ประสานสิบทิศ ที่ทำให้โครงการสำเร็จอย่างราบรื่น ผ่านการทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมร...

2 ตุลาคม 2023

“ลิขสิทธิ์” ปัญหาชวนปวดหัวของ Generative AI

หากเปรียบ Generative AI เป็นเหมือนเวทมนต์ก็คงไม่ผิดนัก เห็นได้ชัดจากขีดความสามารถของโปรแกรม Stable Diffusion, Midjourney, หรือ DALL·E 2 ที่ใช้อัลกอริทึมสร้างภาพตามวลีหรือประโยคสั้น ๆ ที่เรากำหนดตั้งแต่ภาพถ่ายเก่า ภาพสีน้ำ จนถึงเทคนิคการวาดภาพแบบ Pointillism ยิ่งไปกว่านั้นความสามารถด้านการเขียนของ Generative AI ที่ถึงขั้นสร้างความกังวลว่าต่อไป Content Writer อาจต้องตกงาน  หากมองเพียงผิวเผินการสร้างคอนเทนต์ไม่ว่าจะรูปภาพหรืองานเขียนของ AI เหมือนจะเป็นผลงานที่สร้างขึ้นใหม่ แต่ลึกลงไปในกระบวนการสร้างกลับมีคำถามมากมายเกี่ยวกับประเด็น ‘ลิขสิทธิ์ (Copyright)’ ที่น่าปวดหัวและอาจสร้างปัญหาตามมาจากการใช้งานเชิงพาณิชย์ การทำงานของ Generative AI จุดเริ่มต้นของความกังวลด้านทรัพย์สินทางปัญญา  แพลตฟอร์ม Generative AI ถูกฝึกด้วยข้อมูลใน Data Lake และ Question Snippets แหล่งข้อมูลเหล่านี้มีตัวแปรหลายพันล้านตัวที่สร้างโดยซอฟต์แวร์ ซึ่งการประมวลคลังภาพและข้อความขนาดใหญ่นี้แพลตฟอร์ม AI ดึงรูปแบบและความสัมพันธ์มาใช้สร้างกฎต่าง ๆ ก่อนพิจารณาและคาดการณ์คำตอบ เมื่อได้รับคำสั่งให้ทำ ...

20 กันยายน 2023