fbpx

Search

Bluebik is trusted by leading organizations

7 เทรนด์การลงทุนที่ภาคธุรกิจต้องเร่งทำ สร้างขุมพลังแห่งการแข่งขันในโลกธุรกิจไร้พรมแดน

เมื่อภาคธุรกิจกำลังเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ที่ต้องรับมือทั้งกระแสดิจิทัลดิสรัปชัน และการแข่งขันอย่างดุเดือดในโลกธุรกิจไร้พรมแดนที่มี “ผู้เล่น” ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งจะมีเพียงผู้เข้มแข็งเท่านั้นที่สามารถแข่งขันและคว้าโอกาสทางธุรกิจได้ ความสำเร็จของธุรกิจที่มาจากต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็น Grab ที่พัฒนาตัวเองจากแอปพลิเคชันเรียกรถแท็กซี่สู่ Super App ที่ประสบความสำเร็จอย่างมากในระดับภูมิภาคและตลาดไทย หรือ Netflix เจ้าตลาดแพลตฟอร์มดูหนังผ่าน Streaming ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงจากคนไทย ยังมีธุรกิจอื่นๆ จากต่างประเทศทั้งที่เข้ามาแล้ว และกำลังจ่อคิวเข้ามาอีกมากมายเพื่อช่วงชิงพื้นที่ตลาด คำถามสำคัญ คือ “ภาคธุรกิจพร้อมแค่ไหนในศึกนี้” การสร้างความแข็งแกร่งให้กับ 4 แกนหลักในการทำธุรกิจ ที่ประกอบด้วย ลูกค้า ตัวองค์กร พนักงาน และพันธมิตร เพื่อใช้รับมือกับการแข่งขันทางธุรกิจในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลที่มีเทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อน จึงเป็นสิ่งที่ภาคธุรกิจต้องเร่งทำก่อนถูกทั้งคู่แข่งและดิจิทัล ดิสรัปชัน จนอาจหายไปจากอุตสาหกรรมอย่างน่าเสียดาย  ด้วยประสบการณ์และควา...

21 มิถุนายน 2022

Do and Don’t จัด Virtual Training อย่างไรให้มีประสิทธิภาพ

ด้วยสถานการณ์โรคระบาด Covid-19 ที่เกิดขึ้นอย่างคาดไม่ถึงนั้น ทำให้หลายองค์กรต้องปรับรูปแบบวิธีการทำงานใหม่ด้วยการใช้เทคโนโลยี ซึ่งรวมไปถึงการจัดการฝึกอบรมที่เป็นหนึ่งในกระบวนการสำคัญในการพัฒนาทักษะและความสามารถของพนักงาน โดยหลายครั้งผู้จัดอบรมอาจจะต้องเผชิญกับปัญหาการจัดฝึกอบรมออนไลน์ที่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากมีอุปสรรคในด้านต่าง ๆ ทั้งการขาดการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้อบรมและผู้เข้าร่วม การไม่รู้ว่าผู้เข้าร่วมเข้าใจเนื้อหาที่กำลังสอนอยู่หรือไม่ รวมถึงการที่ผู้เข้าร่วมอาจจะกำลังทำสิ่งอื่นไปพร้อมกับการอบรม ซึ่งส่งผลให้การจัดฝึกอบรมนั้นไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ วันนี้เราจึงนำเสนอเทคนิคการจัดฝึกอบรมออนไลน์แบบ  Do and Don’t เพื่อให้การฝึกอบรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดฝึกอบรมอีกด้วย DO 1. แจ้งกฎกติกาใน 5 นาทีแรกก่อนเริ่มการฝึกอบรม ในการฝึกอบรมออนไลน์หลายครั้งมักพบปัญหา ไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้เข้าร่วม เนื่องจากผู้เข้าร่วมไม่ได้จดจ่ออยู่กับการฝึกอบรมเท่าที่ควร โดยเฉพาะ การฝึกอบรมในรูปแบบ interactive ...

ปรับกระบวนทัพการทำตลาดด้วย Marketing Transformation รับมือการแข่งขันทางธุรกิจในโลกเศรษฐกิจดิจิทัล

หาก การทำการตลาด (Marketing) คือ การตอบสนองความต้องการผู้บริโภคด้วยคุณค่าอะไรบางอย่างได้อย่างยั่งยืน และยังสามารถสร้างผลกำไรได้ ด้วยเหตุนี้ การที่ภาคธุรกิจสามารถเข้าใจถึงความต้องการของผู้บริโภค นั่นคือสิ่งสำคัญที่จะทำให้ธุรกิจสามารถเติบโตได้อย่างแข็งแรง  ​แต่การเข้าถึงความต้องการผู้บริโภคได้อย่างถูกต้องแม่นยำในยุคที่พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนั้น “ไม่ง่ายเลย” นอกจากสินค้าและบริการที่โดนใจแล้ว การสร้างประสบการณ์ใหม่ๆ สำหรับผู้บริโภคเป็นสิ่งที่ภาคธุรกิจห้ามละเลย และนี่คือเหตุผลว่าทำไมองค์กรจึงจำเป็นต้องทำ “Marketing Transformation” กระบวนการทำการตลาดที่มี Data เป็นพื้นฐานสำคัญในการปูทางสู่โมเดลทางการตลาดที่สามารถสร้างการเติบโตให้กับธุรกิจด้วย Data Management Ecosystem พร้อมปลดล็อคขีดความสามารถในการทำ Marketing Automation & Artificial Intelligence (AI) ที่สามารถตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว อีกทั้งยังช่วยลดต้นทุนทางการตลาด และสร้างโมเดลธุรกิจใหม่ๆ ที่สามารถก่อให้เกิด Incremental Growth ให้กับธุรกิจได้อีกด้ว ทำความรู้จัก Marketing Transf...

กำจัดจุดอ่อน… บอกลา 3 ศัตรูร้าย ความเสี่ยงในงาน PMO สะดุด

ผู้จัดการโครงการ (Project Manager) ทราบดีว่า ในการบริหารจัดการโครงการ (Project Management) นั้นอาจต้องเผชิญกับความเสี่ยงหรือปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา อาทิ การใช้งบประมาณมากเกินไป ความต้องการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นบ่อยครั้ง จำนวนบุคลากรในโครงการไม่สัมพันธ์กับปริมาณงาน ตลอดจนเหตุสุดวิสัยเกินกว่าจะควบคุมอย่าง น้ำท่วม ไฟฟ้าขัดข้อง เป็นต้น ซึ่งความเสี่ยงเหล่านี้อาจส่งผลให้การบริหารจัดการโครงการไม่เป็นไปตามแผนงานที่วางไว้  ดังนั้นหากไม่สามารถควบคุมความเสี่ยง (Risk) ก็จะส่งผลให้เกิดปัญหา (Issue) ตามมาได้ อย่างเช่น ความไม่คุ้มทุนของโครงการ ผลลัพธ์ของงานที่ไม่ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า และการส่งมอบงานไม่ตรงเวลา ยิ่งไปกว่านั้นอาจส่งผลเสียต่อทีมงาน ผู้จัดการโครงการ ไปจนถึงระดับผู้บริหาร ภาพลักษณ์และชื่อเสียงของบริษัทได้ ด้วยเหตุนี้การตระหนักรู้ (Aware) และหาแนวทางป้องกันความเสี่ยง (Prevent) นั้นเป็นสิ่งที่ผู้จัดการโครงการควรให้ความสำคัญอย่างมาก จากประสบการณ์ทีมงานมืออาชีพของ “บลูบิค” ที่ผ่านการบริหารจัดการโครงการทั้งขนาดเล็กและใหญ่จำนวนมากพบว่า ความเสี่ยงที่ผู้จัดการโครงกา...

รีวิวชีวิตประสบการณ์ฝึกงานที่ Bluebik

สวัสดีครับ ชื่อ Frank ครับ ก็เข้ามาฝึกงานกับทาง bluebik ตอนเรียนจบปี4ครับ เป็นพี่แก่สุดเลยคนเดียว ฮ่าๆ เราจบมาจากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคอินเตอร์ครับ หรือที่รู้จักกันในชื่อ BBA Chulalongkorn แล้วก็จบจาก Accounting Major ครับ  ขั้นตอน/วิธีการสมัคร รู้จัก bluebik จากเพื่อนและรุ่นน้องที่เคยมาลองฝึกงานก่อนหน้านี้ครับ แล้วก็ทาง bluebik ได้จัดเป็น info session แล้วผมสนใจ ก็เลยสมัครเข้าไปฟังดูครับ และก็ได้โอกาสในการสมัคร MCAP internship program ใน info session นั้นเลยครับ ส่วน process การคัดเลือกก็มีหลายขั้นตอนอยู่ครับ ตั้งแต่ รอบยื่น CV/Resume ถ้าผ่านก็จะได้ phone interview เบื้องต้นครับ ถ้าผ่านก็จะได้รับ Business Case Cracking Assignment ให้ทำครับ เป็นเหมือนการช่วยลูกค้าแก้ปัญหาอะไรบางอย่างเบื้องต้นครับ ทำในรูปแบบนำเสนอจริงเลยครับ ถ้าผ่านก็จะได้เข้าสู่รอบ interview จริงครับ ซึ่งจะแบ่งเป็น 3 ส่วนหลักๆ ครับ ได้แก่ Resume Go-through, Case Interview และก็ Company Fit Interview ครับ พี่ๆ ที่สัมภาษณ์ก็ supportive ตลอดการสัมภาษณ์เลยครับ และก็จะมีความจร...

BBIK โชว์นิวไฮรายได้ – กำไรไตรมาส 1 ปีนี้โตทะลุ 120%

บลูบิค (BBIK) เปิดปี 65 ร้อนแรง Q1 โชว์นิวไฮต่อเนื่องทั้งรายได้และกำไรโตทะลุ 120% ตุน Backlog แน่นกว่า 458 ล้านบาท พร้อมปรับเป้าปีนี้โตไม่ต่ำกว่า 70% บริษัท บลูบิค กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) หรือ BBIK ที่ปรึกษาชั้นนำผู้ให้บริการด้านดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันแบบครบวงจร โชว์ผลประกอบการนิวไฮทั้งรายได้ กำไร และแบ็คล็อก ในไตรมาสแรกของปี 2565 โดยมีรายได้ 111.34 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 124% และกำไรสุทธิ 28.64 ล้านบาท เติบโตขึ้น 132% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน ที่มีรายได้อยู่ที่ 49.78 ล้านบาท และกำไรสุทธิ 12.34 ล้านบาท ในขณะที่แบ็คล็อกทำสถิติสูงสุดเป็นประวัติการณ์อยู่ที่ 458 ล้านบาท ซึ่งคาดว่าจะรับรู้รายได้ในปีนี้มากกว่า 247 ล้านบาท (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2565) นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ปรับประมาณการการเติบโตในปี 2565 ซึ่งคาดว่าจะไม่ต่ำกว่า 70% เพิ่มขึ้นจากเดิมที่เคยคาดการณ์ไว้ 50% เนื่องจากผลประกอบการของบริษัทฯ ที่เติบโตอย่างแข็งแกร่งตั้งแต่ไตรมาสแรกทั้งรายได้ กำไรสุทธิ และมูลค่าแบ็คล็อก ผนวกกับแนวโน้มการฟื้นตัวของภาพรวมเศรษฐกิจในช่วงครึ่งปีหลัง จากการผ่อนคลายมาตรการการควบคุมโรคระบาดโควิด-19 แล...

11 พฤษภาคม 2022

ปิดประตูความล้มเหลวในการนำ ERP มาใช้งาน พร้อมเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้ธุรกิจ ด้วยหลักปฏิบัติ 7 ประการ

เมื่อกระแสดิจิทัลดิสรัปชันกำลังกดดันให้แทบทุกองค์กรต้องเร่งทำดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการขับเคลื่อนองค์กรเข้าสู่ยุคดิจิทัลพร้อมกับสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน แต่จะมีสักกี่องค์กรที่ตระหนักรู้และเข้าใจอย่างแท้จริงว่า การรับมือกับกระแสความเปลี่ยนแปลงให้ได้ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้นั้น มิใช่เพียงการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ มาปรับใช้ในองค์กรเพียงแค่ฉากหน้า แต่หมายรวมถึงการอัพเกรดระบบการทำงานและการใช้ประโยชน์สูงสุดจากทุกจุดของการทำดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชัน ไม่เว้นแม้แต่ระบบปฏิบัติการหลังบ้านที่หลายองค์กรเลือกใช้อย่างระบบ ERP (Enterprise Resource Planning) ซึ่งเป็นแกนหลักสำคัญของกระบวนการเปลี่ยนผ่านและบริหารจัดการงานส่วนต่าง ๆ ขององค์กรให้สามารถดำเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพตามเป้าหมายที่วางไว้ ดังนั้นการอัพเกรดระบบ ERP ให้ทันสมัยจึงเป็นเรื่องจำเป็น เพื่อให้สามารถใช้งานได้แบบเรียลไทม์และเกิดประโยชน์สูงสุดโดยเฉพาะกับข้อมูลเชิงลึก เพื่อช่วยให้กระบวนการตัดสินใจทางธุรกิจทำได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ อย่างไรก็ตาม แม้ว่า ERP จะมีประสิทธิภาพในการทำงานและได้รับความนิยมอย่าง...

6 ฝันร้าย สัญญาณความล้มเหลวในการบริหารโครงการ (Project Management)

“ความสำเร็จ” เป็นสิ่งที่ใครๆ ก็มองหาแต่หนึ่งในหนทางไปสู่ความสำเร็จนั้นจำเป็นต้องเรียนรู้ข้อผิดพลาดเพื่อป้องกันหรือเตรียมรับมือกับปัญหาที่อาจขึ้น  เพราะหนทางของการบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ล้วนมีบททดสอบที่ท้าทายรออยู่เสมอ ในโลกของการบริหารจัดการโครงการก็เช่นกัน การเรียนรู้จากข้อผิดพลาดหรือปัญหาสามารถป้องกันความเสียหายที่อาจทำให้โครงการนั้นๆ ล้มเหลวได้ ด้วยเหตุนี้ บลูบิค ได้รวบรวม 6 ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยจากการบริหารจัดการโครงการที่อาจนำไปสู่ความล้มเหลว ดังนี้ 1. ไม่สามารถควบคุมขอบเขตของโครงการได้ สิ่งสำคัญที่สุดในการบริหารจัดการโครงการ คือ การควบคุมต้นทุนให้อยู่ภายใต้งบประมาณวางเอาไว้ ซึ่งการควบคุมงบประมาณหรือต้นทุนได้อย่างแม่นยำนั้นจำเป็นต้องมีการกำหนดขอบเขตของงานและกรอบเวลาการส่งมองให้ชัดเจน ในการบริหารจัดการโครงการ หลายโครงการสามารถกำหนดขอบเขตงานได้อย่างชัดเจนตั้งแต่ก่อนเริ่มดำเนินการ แต่ในความเป็นจริงเเล้วนั้น หลายๆโครงการอาจมีข้อจำกัดที่ไม่สามารถทำได้ตั้งเเต่เริ่ม ดังนั้น หากโครงการเริ่มต้นไปแล้วสิ่งสำคัญเร่งด่วนที่ผู้บริหารจัดการโครงการต้องทำคือ ตกลงและกำหนดขอบเขตการ...

เปิดความเชื่อมโยง Cryptocurrency และตลาดทุน ผ่านมุมมองการวิเคราะห์ Data Analytics

กระโจนเข้าหามูลค่าจากสิ่งที่ไม่มีวันคาดเดาได้ ในช่วงหนึ่งถึงสองปีที่ผ่านมา ไม่ว่าเราจะรับข่าวสารผ่านช่องทางไหนก็ตาม มีอันต้องพบข่าวสินทรัพย์ดิจิทัลอยู่บ่อยครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งข่าวเกี่ยวกับ “สกุลเงินเข้ารหัส” (cryptocurrency) กระแสข่าวที่เพิ่มขึ้นเรื่อยมาอาจสร้างภาพความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนว่า “cryptocurrency ก้าวเข้ามาเป็นตัวเลือกให้นักลงทุนและทดแทนสินทรัพย์กระแสหลัก” อาทิเช่น หุ้น ทอง หรือ น้ำมันไปเสียแล้ว แต่ถึงจะมีข่าวการสร้างกำไรเป็นอันมากของนักลงทุน แต่โดยภาพรวมกลุ่ม cryptocurrency อาจไม่ได้รับหรือส่งอิทธิพลต่อสินทรัพย์กระแสหลักนัก และยังถือเป็นเพียงสินทรัพย์เฉพาะกลุ่มเท่านั้น   ราวกับเป็นวัฏจักร ภาวะเศรษฐกิจถดถอยหรือเกิดวิกฤติ ถือเป็นเวลาที่มีธุรกิจประเภทใหม่ๆ เกิดขึ้น ในวิกฤติการเงินปี 2008 cryptocurrency ก็เริ่มแพร่หลายในต่างประเทศ จนกระทั่ง COVID-19 มาทำลายบรรยากาศทางเศรษฐกิจในสองปีที่ผ่านมา กระแสการเปิดกว้างในการลงทุนและการยอมรับ cryptocurrency ก็เริ่มเพิ่มขึ้นในประเทศไทย เพราะการเข้าถึงที่ง่ายและไม่จำเป็นต้องมีทุนทรัพย์มากนัก จึงดึงดูดนักลงทุนรายใหม่จำนว...

Marketing Consulting กับ Marketing Agency สองขุมกำลังที่ธุรกิจต้องใช้ร่วมกันเพื่อการเติบโตแบบก้าวกระโดด

“การทำงานด้านตลาดกำลังถูกท้าทายอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน” จากสภาวะตลาดในปัจจุบันที่ถูกท้าทายไม่ว่าจะเป็นภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจ โรคระบาด การเข้ามาของเทคโนโลยี การสื่อสารการตลาดและงบโฆษณาที่แพงขึ้น คู่แข่งที่เพิ่มมากขึ้น และความเปลี่ยนแปลงอันไม่แน่นอน ทำให้ธุรกิจถูกบีบรัดด้วยนโยบายลดรายจ่ายในภาวะวิกฤต ในขณะเดียวกันก็ต้องเพิ่มการลงทุนด้านการทรานส์ฟอร์เมชั่น และอัดแคมเปญเร่งยอดขาย เป้าหมายอันดับแรกในการ “เฉือน” งบประมาณลงก่อนใครคือ “งบด้านการตลาดและงบโฆษณา” แม้จะเห็นผลเฉพาะหน้ารวดเร็วคือรายจ่ายที่ลดฮวบฮาบ แต่ระยะยาวมักส่งผลเสียต่อธุรกิจมากกว่าที่คิด โดยเฉพาะมูลค่าของ “แบรนด์” ที่จริงๆ แล้วส่งผลทางตัวเลขของธุรกิจมากกว่าที่เราเห็น แต่ในอีกมุมหนึ่งของภาวะวิกฤตเหล่านี้กลับมีบางองค์กรคิดต่างและหันมาทุ่มงบประมาณด้านการตลาดในการสร้างแบรนด์ วางการลงทุนด้านการทำทรานส์ฟอร์เมชั่น และการใช้ข้อมูลเพิ่มสวนทางคู่แข่งที่เมื่อพ้นจากภาวะที่ไม่แน่นอนอาจเติบโตได้มากกว่าหลายเท่าและฉีกหนีคู่แข่งไปไกลลิบ แล้วอะไรเป็นสิ่งที่ทำให้องค์กรเหล่านั้น “คิดต่าง” และนำมาซึ่งผลลัพธ์ที่เหนือกว่า? สโรจ เลาหศ...